National Assembly Library of Thailand

20 คำถามกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน /

20 คำถามกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน / สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. - กรุงเทพฯ : สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2565. - 46 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.

การเข้าชื่อเสนอกฎหมายคืออะไร --
การเช้าชื่อเสนอกฎหมายมีความสำคัญอย่างไร --
รัฐธรรมนูญฉบับใดที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเสนอกฎหมาย --
กฎหมายประเภทใดที่ประชาชนเสนอได้ --
กฎหมายใดที่กำหนดหลักเกณฑ์กระบวนการและวิธีการในการเข้าเสนอชื่อกฎหมาย --
พระราชบัญญัติการเข้าชื่อเสนอกฎหมายพ.ศ.2556 กับพ.ศ.2564 มีความแตกต่างกันอย่างไร --
ในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรมีบทบาทอย่างไร --
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายมีอะไรบ้าง --
ขั้นตอนเข้าชื่อเสนอกฎหมายมีอะไรบ้าง --
หากเสนอร่างกฎหมายไปแล้วสามารถแก้ไขได้หรือไม่ --
เข้าชื่อเสนอกฎหมายทางออนไลน์ได้หรือไม่ --
หากร่วมลงชื่อเสนอกฎหมายจะมีผลกระทบใดตามมาหรือไม่ --
ตรวจสอบรายชื่อผู้ร่วมเสนอกฎหมายได้ที่ไหน --
ต้องรวบรายชื่อให้ครบ10,000/50,000คนภายในกี่วัน --
กรณีใดที่รายชื่อไม่ครบ10,000/50,000คน --
เอกสารหลักฐานไม่ถูกต้องไม่ครบถ้วนสามารถเสนอกฎหมายได้หรือไม่ --
เอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนจะเข้าสู่กระบวนการพิจารณาในสภาได้เลยหรือไม่ --
ถ้ายุบสภา/เลือกตั้งใหม่ร่างกฎหมายจะได้รับการพิจารณาต่อหรือไม่ --
ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้จากที่ไหน.


การมีส่วนร่วมทางการเมือง--ไทย
กฎหมาย--การมีส่วนร่วมของประชาชน--ไทย
สิทธิเสนอร่างกฎหมาย

สผ 08 3.4 323 2565
หอสมุดรัฐสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขที่ 1111 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
The Secretariat of the House of Representatives 1111 Samsen Road, Thanon Nakhon Chai Si, Dusit, Bangkok 10300, THAILAND
โทรศัพท์: +66(0) 2242 5900 ต่อ 5711 โทรสาร: +66(0) 2242 5990 อีเมล: library@parliament.go.th