National Assembly Library of Thailand

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา /

คณิต ณ นคร

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา / คณิต ณ นคร. - พิมพ์ครั้งที่ 11. - กรุงเทพฯ : วิญญุชน, 2566. - 953 หน้า : ตาราง ; 27 ซม.

บทที่ 1 ความหมายและภารกิจของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา -- บทที่ 2 ที่มาของกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและการตีความ -- บทที่ 3 ระบบการดำเนินคดีอาญาและหลักเกณฑ์วิธีพิจารณาความอาญา -- ภาค 2 องค์กรและเครื่องมือในคดีอาญา -- ลักษณะ 1 ประธานในคดี -- บทที่ 4 ศาล -- บทที่ 5 พนักงานอัยการ -- บทที่ 6 พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ พนักงานสอบสวน นักจิตวิทยา และนักสังคมสงเคราะห์ -- บทที่ 7 ผู้กล่าวหา -- บทที่ 8 ผู้ถูกกล่าวหา -- บทที่ 9 ทนายความ -- ลักษณะที่ 2 กระบวนการพิจารณาเงื่อนไขให้อำนาจดำเนินคดีและข้อหา -- บทที่ 10 กระบวนพิจารณา -- บทที่ 11 เงื่อนไขให้อำนาจดำเนินคดี -- บทที่ 12 ข้อหา -- ลักษณะที่ 3 พยานหลักฐานและมาตรการบังคับ -- ส่วนที่ 1 พยานหลักฐาน -- บทที่ 13 หลักเบื้องต้นทั่วไปเกี่ยวกับพยานหลักฐาน -- บทที่ 14 ผู้ถูกกล่าวหากับกฎหมายลักษณะพยาน -- บทที่ 15 พยานบุคคล -- บทที่ 16 ผู้เชี่ยวชาญ -- บทที่ 17 พยานเอกสารและพยานวัตถุ -- บทที่ 18 จิตวิทยาคำให้การพยานบุคคล -- ส่วนที่ 2 มาตรการบังคับและการควบคุมการใช้มาตรการบังคับ -- บทที่ 19 ว่าด้วยมาตรการบังคับทั่วไป -- บทที่ 20 หมายเรียกและการเรียก -- บทที่ 21 หมายอาญา -- บทที่ 22 หมายจับ -- บทที่ 23 หมายค้น -- บทที่ 24 หมายขัง -- บทที่ 25 หมายปล่อย -- บทที่ 26 หมายจำคุก --
บทที่ 27 หมายกักขัง -- บทที่ 28 การจับ -- บทที่ 29 การควบคุมตัวระหว่างคดี -- บทที่ 30 การค้น -- บทที่ 31 การปล่อยชั่วคราว -- บทที่ 32 มาตรการคุ้มครองผู้ถูกคุมขังโดยมิชอบ -- บทที่ 33 การส่งผู้ร้ายข้ามแดน -- ภาค 3 หลักในการดำเนินคดีอาญาและกระบวนการดำเนินคดีอาญา -- บทที่ 34 บทนำว่าด้วยหลักการดำเนินคดีอาญา -- บทที่ 35 หลักในการดำเนิคดีอาญาของพนักงานสอบสวน -- บทที่ 36 หลักในการดำเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ ขั้นตอนการสั่ง คดีและเกณฑ์การใช้ดุลพินิจสั่งไม่ฟ้อง -- ลักษณะ 2 กระบวนการดำเนินคดีอาญา -- บทที่ 37 โครงสร้างของการดำเนินคดีอาญา -- บทที่ 38 การดำเนินคดีชั้นสอบสวน -- บทที่ 39 การดำเนินคดีชั้นพนักงานอัยการ -- บทที่ 40 อำนาจหน้าที่ในการดำเนินคดีของอัยการสูงสุด -- บทที่ 41 การเลิกคดีอาญา -- บทที่ 42 การชันสูตรพลิกศพและการไต่สวนการตาย -- ภาค 4 การฟ้องและการดำเนินคดี -- ลักษณะที่ 1 การฟ้องคดีอาญา การดำเนินคดีอาญาโดยทั่วไป และการดำเนินคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา -- บทที่ 43 การฟ้องคดีอาญาทั่วไป -- บทที่ 44 อำนาจศาล -- บทที่ 45 การดำเนินคดีชั้นการประทับฟ้อง -- บทที่ 46 การดำเนินคดีในศาลชั้นต้น -- บทที่ 47 คำสั่งของศาล -- บทที่ 48 คำพิพากษาและเหตุผลในการตัดสิน -- บทที่ 49 การทำและการอ่านคำพิพากษา -- บทที่ 50 สภาพเด็ดขาดทางกฎหมาย -- บทที่ 51 การฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา -- ลักษณะ 2 กระบวนการดำเนินคดีอาญาศาลแขวงและคดีอาญาเด้กและเยาวชน -- บทที่ 52 การดำเนินคดีอาญาศาลแขวง -- บทที่ 53 การดำเนินคดีอาญาเด็กและเยาวชน -- ลักษณะที่ 3 การอุทธรณ์ การฎีกา และการรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ -- บทที่ 54 หลักทั่วไปเกี่ยวกับการอุทธรณ์และการฎีกา -- บทที่ 55 อุทธรณ์ -- บทที่ 56 ฎีกา -- บทที่ 57 การรื้อฟื้นคดีอาญาขึ้นพิจารณาใหม่ -- ลักษณะที่ 4 การบังคับคดีอาญา ค่าธรรมเนียม การอภัยโทษ การเปลี่ยนโทษหนักเป็นเบาและการลดโทษ -- บทที่ 58 การบังคับคดีอาญา -- บทที่ 59 ค่าธรรมเนียม -- บทที่ 60 การอภัยโทษ การเปลี่ยนโทษหนักเป็นเบาและการลดโทษ -- ภาค 5 การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง -- บทที่ 61 บททั่วไปเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง -- บทที่ 62 ดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในชั้นก่อนฟ้อง -- บทที่ 63 ผู้มีอำนาจฟ้อง องค์คณะผู้พิพากษาและการควบคุมตัวระหว่างคดี -- บทที่ 64 หลักประกันในการต่อสู้คดีของผู้ถูกกล่าวหา การพิจารณาพิพากษาคดีและการบังคับคดี.



9786165812559


วิธีพิจารณาความอาญา
หอสมุดรัฐสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขที่ 1111 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
The Secretariat of the House of Representatives 1111 Samsen Road, Thanon Nakhon Chai Si, Dusit, Bangkok 10300, THAILAND
โทรศัพท์: +66(0) 2242 5900 ต่อ 5711 โทรสาร: +66(0) 2242 5990 อีเมล: library@parliament.go.th