National Assembly Library of Thailand

วิชาธรรมศาสตร์ว่าด้วยการคลังภาครัฐ /

ปรีชา สุวรรณทัต

วิชาธรรมศาสตร์ว่าด้วยการคลังภาครัฐ / ปรีชา สุวรรณทัต. - พิมพ์ครั้งที่ 5 - ปทุมธานี โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2559. - 435 หน้า ; 26 ซม.

บทที่ 1 อารัมภบท วิวัฒนาการที่เป็นความคิดอันเป็นพลวัตของวิชาการคลัง -- ส่วนที่ 1 ธรรมในคัมภีร์ศาสนาที่สำคัญของโลกอันเป็นนิติฐานและปรัชญาในการสร้างวินัยการเงินการคลัง -- ส่วนที่ 2 วิวัฒนาการความคิดอันเป็นบ่อเกิดของหลักกฎหมายการคลังมหาชน -- ส่วนทีี่ 3 เปรียบเทียบความคิดหลักของกฎหมายการคลังมหาชนของต่างประเทศและของประเทศไทย -- ส่วนที่ 4 รากเหง้าความคิดทางกฎหมายการคลังมหาชนของประเทศสยามตั้งแต่ยุคปฐมกาลมาสู่ยุคใหม่ -- ส่วนที่ 5 ย้อนศึกษาแนวความคิดการคลังในยุคปฐมกาลกับการคลังในปัจจุบัน -- บทที่ 2 กรอบวินัยทางการเงินกาารคลังและการงบประมาณตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 -- ส่วนที่ 1 ข้อดีและข้อเสียของการที่รัฐธรรมนูยได้กำหนดกรอบวินัยการเงิน การคลัง และงบประมาณไว้ในรัฐธรรมนูญ -- ส่วนที่ 2 กรอบวินัยการเงิน การคลัง และงบประมาณ -- ส่วนที่ 3 กรอบวินัยการเงินการคลังที่อยู่นอกหมวด 8 รัฐธรรมนูญ -- บทที่ 3 ความสัมพันธ์และไม่สัมพันธ์ของหลักกฎหมายการคลังมหาชนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญกับพระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับการเงินการคลังที่เป็นแก่นของกฎหมายการคลัง -- ส่วนที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญกับกฎหมายเงินคงคลังและกฎหมายวิธีการงบประมาณ -- ส่วนที่ 2 ความสัมพันธ์และไม่สัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญกับกฎหมายเงินคงคลังและกฎหมายวิธีการงบประมาณ -- ส่วนที่ 3 สรุปและข้อเสนอแนะหลักเฉพาะและข้อยกเว้นในการจ่ายเงินแผ่นดิน -- บทที่ 4 กิจกรรมการบริหารการเงินการคลังของรัฐที่อยู่นอกระบบงบประมาณรายจ่าย -- ส่วนที่ 1 อำนาจบริหารในการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ -- ส่วนที่ 2 ความเป็นเทคนิคของการตั้งรายจ่ายชดใช้เงินคงคลังและการตั้งงบประมาณรายจ่ายชดใช้เงินคงคลัง -- บทที่ 5 รายจ่ายตามข้อผูกพันที่เป็นหนี้สาธารณะ ส่วนที่ 1 ความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับหนี้สาธารณะ -- ส่วนที่ 2 การก่อหนี้สาธารณะของประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน --ส่วนที่ 3 กรอบวินัยทางการเงินการคลังในการกู้เงินในปัจจุบัน -- บทที่ 6 การจำแนกหลักกฎหมายการคลังมหาชนที่สอดคลัองและไม่สอดคล้องกัลหลักวินัยทางงบประมาณและการคลังและมาตรการในการรักษาวินัยทางการคลัง -- ส่วนที่ 1 กิจกรรมการบริหารการเงินการคลังของรัฐที่อยู่นอกระบบงบประมาณรายจ่าย -- ส่วนที่ 2 ข้อกำหนดทางกฎหมายการคลังมหาชนของฝ่ายนิติบัญญัติในการก่อหนี้สาธารณะ -- กรณีศึกษาอำนาจของฝ่ายนิติบัญญัติของต่างประเทศในการควบคุมการก่อหนี้สาธารณะของฝ่ายบริหาร -- ส่วนที่ 3 สรุปและข้อเสนอแนะ : กิจกรรมการเงินของรัฐที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องกับวินัยการเงินการคลัง -- บทที่ 7 วิเคราะห์ผลกระทบกรณีที่กรอบวินัยการเงินการคลังกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ 2550 ได้ถูกยกเลิกไป -- ส่วนที่ 1 วิวัฒนาการของหมวด 8 ว่าด้วยการเงิน การคลังและงบประมาณตั้งแต่มาตรา 166-170 จากรัฐธรรมนูญฉบับแรกถึงปัจจุบัน -- ส่วนที่ 2 กรอบวินัยการคลังตามประเพณี : กรณีศึกษาจากการที่พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 และกฎหมายโอนงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2558 และงบประมาณปี 2559 และ 2560 ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ -- ส่วนที่ 3 วิเคราะห์คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 3-4/2557 กรณีเงินกู้นอกงบประมาณสองล้านล้านบาทยังมีผูกพันทุกหน่วยงานของรัฐอยู่หรือไม่ -- ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกรอบวินัยการเงินการคลังและงบประมาณในการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ -- บทที่ 8 ข้อพิจารณาและวิเคราะห์เปรียบเทียบกรอบวินัยการคลังและงบประมาณของร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับที่สภาปฏิรูปไม่เห็นชอบและฉบับประชามติกับรัฐธรรมนูญปี 2540 และ 2550 -- ปัจฉิมบท : ธรรมาภิบาลในวินัยการเงินและการคลัง -- ปัจฉิมภาค : กาลามสูตรกังขานิยฐาน 10 หรือ วิธีปฏิบัติในเรื่องที่ควรสงสัยหรือหลักความเชื่อ.

9786164138919


นโยบายการเงิน--แง่กฎหมาย
การคลัง --ไทย
หนี้สาธารณะ
กฎหมายการคลัง
หอสมุดรัฐสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขที่ 1111 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
The Secretariat of the House of Representatives 1111 Samsen Road, Thanon Nakhon Chai Si, Dusit, Bangkok 10300, THAILAND
โทรศัพท์: +66(0) 2242 5900 ต่อ 5711 โทรสาร: +66(0) 2242 5990 อีเมล: library@parliament.go.th