การควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญกับองค์กรควบคุม / วิจิตรา (ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม.
Material type: TextPublisher: กรุงเทพฯ : สำนักงานสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564.Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: 172 หน้า ; 21 ซมISBN:- 9786164882102
ชนิดของทรัพยากร | Current library | กลุ่มข้อมูล | Shelving location | Call number | สถานะ | Date due | บาร์โค้ด | Item holds | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Law Book | National Assembly Library of Thailand | Law Book collection | Law Book shelves | KD 62 ว528ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) | Available | 3961222043 |
บทที่ 1 บทนำ --
บทที่ 2 แนวความคิดพื้นฐานหรือทฤษฎีและที่มารัฐธรรมนูญของการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ --
2.1 แนวความคิดพื้นฐานหรือทฤษฎีของการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ --
2.1.1 ทฤษฎีความเป็นกฎหมายสูงสุดแห่งรัฐธรรมนูญ (Supremacy of Constitutional Law) --
2.1.2 ทฤษฎีพื้นฐานแห่งอำนาจอธิปไตย (Basic of Sovereignty) --
2.1.3 หลักการแบ่งแยกอำนาจ (Seperation of Powers) --
2.1.4 หลักนิติธรรม (The Rule of Law) --
2.1.5 หลักความสูงสุดแห่งรัฐสภา (Supremacy of Parliament) --
2.1.6 ทฤษฎีการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญ (Principle of Judicial Review) --
2.2 ที่มาของการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญ --
2.2.1 ทฤษฎีทางการเมือง --
2.2.2 ความเข้าใจต่อกฎหมายสูงกว่า --
2.2.3 ลักษณะของรัฐสภาและอำนาจอธิปไตยอันได้รับอิทธิพลจากการเมืองฝรั่งเศส --
2.2.4 แนวความคิดของความสูงสุดแห่งรัฐสภาอังกฤษในยุคล่าอาณานิคม --
2.2.5 การวิวัฒน์ของความยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญ --
บทที่ 3 ระบบการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญในต่างประเทศ --
3.1 ประเภทของการควบคุมกฎหมายมีให้ขัดรัฐธรรมนูญ --
3.1.1 ระบบกระจายอำนาจ (Decentralized System) --
3.1.2 ระบบรวมอำนาจ (Centralized System) --
3.2 องค์กรที่มีอำนาจควบคุม --
3.2.1 ศาลยุติธรรม --
3.2.2 องค์กรทางการเมือง --
3.2.3 ศาลพิเศษหรือศาลรัฐธรรมนูญ --
3.3 กระบวนการพิจารณาวินิจฉัย --
3.3.1 ผู้มีสิทธิเสนอปัญหา --
3.3.2 การพิจารณาวินิจฉัยปัญหา --
3.4 ผลของการควบคุม --
3.4.1 ระบบแก้ไขหรือเยียวยา --
3.4.2 ระบบป้องกัน --
บทที่ 4 ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญในประเทศไทย --
4.1 ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญของไทยในอดีต --
4.1.1 องค์กรที่มีอำนาจควบคุม --
4.1.1.1 ศาลยุติธรรม --
4.1.1.2 คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ --
4.1.1.3 ศาลรัฐธรรมนูญ --
4.1.2 กระบวนการพิจารณา --
4.1.2.1 คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ --
4.1.2.2 ศาลรัฐธรรมนูญ --
4.1.2.2.1 การนำเสนอปัญหา --
4.1.2.2.2 การพิจารณาวินิจฉัยปัญหา --
4.1.3 ผลของการควบคุม --
1) ระบบแก้ไขหรือเยียวยา --
2) ระบบป้องกัน --
4.2. ระบบการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญของไทยในปัจจุบัน --
4.2.1 องค์กรควบคุม --
4.2.2 กระบวนการพิจารณา --
4.2.2.1 การนำเสนอปัญหา --
4.2.2.2 การพิจารณาวินิจฉัยปัญหา --
1) การยื่นคำร้อง --
2) การพิจารณาคำร้อง --
3) การให้โอกาสขี้แจงแก้ข้อกล่าวหา --
4) การไต่สวน --
5) การนั่งพิจารณา --
6) มาตรการชั่วคราวก่อนการวินิจฉัย --
7) การทำคำวินิจฉัย --
4.2.3 ผลของการควบคุม --
1) ระบบแก้ไขหรือเยียวยา --
2) ระบบป้องกัน --
บทที่ 5 ปัญหาของการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ --
5.1 การไม่มีกำหนดหลักเกณฑ์สำคัญสำหรับการวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจน --
5.2 การขาดบทบัญญัติแห่งกฎหมายรองรับกระบวนการพิจารณากรณีเป็นคดีเร่งด่วน --
5.3 การกำหนดให้ผลของคำวินิจฉัยเป็นเด็ดขาดโดยปราศจากการควบคุม --
5.4 การขาดความเป็นเอกภาพของคำวินิจฉัย --
บทที่ 6 บทสรุป.
There are no comments on this title.