คำอธิบายการปรับเป็นพินัย / ไพโรจน์ วายุภาพ.
Publisher: กรุงเทพฯ : วิญญูชน, 2566.Description: 195 หน้า ; 26 ซมISBN:- 9786165812986
ชนิดของทรัพยากร | Current library | กลุ่มข้อมูล | Shelving location | Call number | สถานะ | Date due | บาร์โค้ด | Item holds | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Law Book | National Assembly Library of Thailand | Law Book collection | Law Book shelves | KS 14.2 พ993ค 2566 (Browse shelf(Opens below)) | Checked out | 04/07/2024 | 3961222849 |
Collection: Law Book collection Close shelf browser (Hides shelf browser)
ไม่มีภาพปก | ||||||||
KS 14 ศ365ร 2557 ล.1 รวมพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา เล่ม 1 / | KS 14 ศ365ร 2557 ล.2 รวมพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา เล่ม 2 / | KS 14 ศ365ร 2558 ล.3 รวมพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา เล่ม 3 / | KS 14.2 พ993ค 2566 คำอธิบายการปรับเป็นพินัย / | KS 15 ป458ค 2537 ความผิดฐานหมิ่นประมาท - ดูหมิ่นซึ่งหน้า / | KS 15 ศ191ร 2550 เรื่องจริงจากคดี เขาเรียนอะไรกันในคณะนิติศาสตร์ : 108 พันเก้า คดีอาญา (สัมมนากฎหมายอาญา) / | KS 15 ศ191ร 2550 เรื่องจริงจากคดี เขาเรียนอะไรกันในคณะนิติศาสตร์ : 108 พันเก้า คดีอาญา (สัมมนากฎหมายอาญา) / |
บทที่ 1 บททั่วไป : บทนิยาม (ม.3) ; วิธีการแจ้ง ยื่นหรือส่งหนังสือหรือเอกสารให้บุคคลภายนอก (ม.6) ; การนำบทบัญญัติตามประมวลกฎหมายอาญาบางมาตรามาใช้บังคับ (ม.8) ; การกำหนดค่าปรับเป็นพินัยอย่างเหมาะสม (ม.9) ; การบรรเทาผลกระทบของโทษปรับเป็นพินัย (ม.10) ; อายุความ (ม.11) ; กำหนดเวลาการบังคับตามคำสั่งหรือคำพิพากษา (ม.12) ; การรายงานการสั่งปรับเป็นพินัย (ม.13) -- บทที่ 2 กระบวนพิจารณาคดีความผิดทางพินัยชั้นเจ้าหน้าที่ของรัฐ : เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้มีอำนาจสั่งปรับเป็นพินัย (ม.14) ; การปรับเป็นพินัยกรณีที่เป็นการกระทำกรรมเดียวเป็นความผิดทางพินัยหลายบท (ม.15) ; การปรับเป็นพินัยกรณีที่เป็นกรรมเดียวเป็นทั้งความผิดทางพินัยและความผิดอาญา (ม.16) ; การปรับเป็นพินัยกรณีที่เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน (ม.17) ; การปรับเป็นพินัยกรณีที่เป็นความผิดหลายกรรมต่างกันและบางกรรมเป็นความผิดทางพินัยบางกรรมเป็นความผิดทางอาญา (ม.18) ; การดำเนินการปรับเป็นพินัย (ม.19) ; การมีคำสั่งปรับเป็นพินัย (ม.20) ; รูปแบบของคำสั่งปรับเป็นพินัย (ม.21) ; การดำเนินการปรับเป็นพินัยกรณีที่มีวิธีดำเนินการเป็นการเฉพาะ (ม.22) ; การชำรับค่าปรับเป็นพินัยผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ม.23) ; การส่งสำนวนคดีให้พนักงานอัยการเพื่อฟ้องคดีต่อศาล (ม.23) -- บทที่ 3 วิธีพิจารณาคดีความผิดทางพินัยในชั้นศาล : เขตอำนาจศาล (ม.28 วรรคหนึ่ง) ; ศาลที่รับคำฟ้อง (ม.29) ; วิธีพิจารณาคดีความผิดทางพินัยในศาลชั้นต้น (ม.28 วรรคสองและวรรคสาม) ; อุทธรณ์ (ม.32) ; การบังคับค่าปรับเป็นพินัย ; ความผิดทางพินัย (ม.33) ; การขอให้พิจารณาพิพากษาใหม่ -- บทที่ 4 บทเฉพาะกาล : การออกกฎหมายลำดับรอง (ม.37) ; คณะกรรมการว่าด้วยการปรับเป็นพินัย (ม.38) ; การดำเนินการกับความผิดอาญาที่อยู่ระหว่างดำเนินการของผู้ที่เกี่ยวข้อง (ม.45) ; การพ้นจากการเป็นผู้กระทำความผิดอาญา (ม.46) ; การสิ้นผลของประวัติอาชญากรรม (ม.47) ; การดำเนินการตามคำสั่งให้ปรับทางปกครองต่อไป (ม.48).
There are no comments on this title.