การศึกษาลักษณ์ทางภาษา และรูปแบบของคำให้การจริงและคำให้การเท็จในภาษาไทย / ภัทณิดา โสดาบัน.
Material type: TextPublisher: กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.Notes: วิทยานิพนธ์ (อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.Description: 141 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 29 ซมSubject(s): LOC classification:- PL 4157 ภ352ก 2560
ชนิดของทรัพยากร | Current library | กลุ่มข้อมูล | Shelving location | Call number | สถานะ | Date due | บาร์โค้ด | Item holds | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Research/Thesis | National Assembly Library of Thailand | Research & Theses collection | Research & Theses shelves | ว PL 4157 ภ352ก 2560 (Browse shelf(Opens below)) | Available | 3961209331 |
Collection: Research & Theses collection Close shelf browser (Hides shelf browser)
ไม่มีภาพปก | ไม่มีภาพปก | ไม่มีภาพปก | ไม่มีภาพปก | ไม่มีภาพปก | ไม่มีภาพปก | |||
ว HD 8700.55 ส826ร 2558 รายงานวิจัยประเมินผล : โครงการเสริมสร้างศักยภาพแรงงานข้ามชาติและการคุ้มครองทางสังคม / | ว GV 943 พ112ส 2561 เส้นทางสู่นักฟุตบอลอาชีพของเยาวชนต่างจังหวัด / | ว DS 589.L3 ส182ก 2561 การจัดการพื้นที่ภูเขาศักดิ์สิทธิ์วัดม่อนพระยาแช่ให้เป็นสถานที่แสวงบุญและท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม / | ว PL 4157 ภ352ก 2560 การศึกษาลักษณ์ทางภาษา และรูปแบบของคำให้การจริงและคำให้การเท็จในภาษาไทย / | ว HD 9199 .T53.C5 ป619ก 2560 "กาแฟชนเผ่า" การกลายเป็นผู้ประกอบการของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ กรณีศึกษา : บ้านหนองเต่า ตำบลแม่วิน อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ / | ว NB 1023 ส721ภ 2559 ภาพสะท้อนของสังคมเร่งพัฒนา(ชนบท) / | ว GV 943.9.F35 ป485ผ 2561 ผู้หญิงกับพื้นที่ใหม่ในสนามฟุตบอลไทย : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพริ้ตตี้สาวสโมสรและกลุ่มแฟนบอลหญิง / |
วิทยานิพนธ์ (อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.
วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาระบุลักษณ์ทางภาษาในระดับคำ รวมทั้งศึกษาความความแตกต่างของรูปแบบและลักษณะเฉพาะทางปริจเฉทของคำให้การจริงและคำให้การเท็จเพื่อเป็นจุดพึงสังเกตในการจำแนกคำให้การจริงและคำให้การเท็จ ผลการศึกษาพบประเภทของคำที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.05 ส่วนผลการศึกษาในระดับปริจเฉทพบว่าคะแนนเฉลี่ยระหว่างคำให้การจริงและคำให้การเท็จมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.05 และคำให้การเท็จ ได้คะแนนสูงกว่าคำให้การจริง ดังนั้นจากการศึกษาครั้งนี้ซึ่งมีความเป็นไปได้ที่จะนำประเภทของคำและรูปแบบที่แตกต่างกันระหว่างคำให้การจริงและคำให้การเท็จในฐานะลักษณ์ทางภาษาพึงสังเกตไปใช้ประกอบการพิจารณาคำจริงเท็จของคำให้การใด ๆ ได้ต่อไป
There are no comments on this title.