National Assembly Library of Thailand
Amazon cover image
Image from Amazon.com

จ้องหน้าจอนานแค่ไหน สายตาก็ไม่เสื่อม / เยี่ยเวยอี้ เขียน ; พิมพพิศา เอี่ยมทิพย์ แปล.

By: Contributor(s): Material type: TextTextLanguage: Thai Original language: Chinese Publisher: กรุงเทพฯ : อมรินทร์เฮลท์, 2559.Description: 119 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 21 ซมISBN:
  • 9786161807849
Subject(s): LOC classification:
  • RE 51 ย551จ 2559
Table of contents:
Part 1 สายตาเสื่อมก่อนวัยอันควรโดยไม่รู้ตัว อุปกรณ์ไอที เพชฌฆาตตัวฉกาจต่อดวงตา -- เทคโนโลยีเปลี่ยนชีวิตให้ทันสมัย แต่กลับเป็นอันตรายต่อดวงตามากขึ้น -- ติดอินเทอร์เน็ตร้ายแรงยิ่งกว่าติดยา รักษาอย่างไรก็เลิกไม่ขาด -- แสงสีน้ำเงิน (Blue Light) ภัยดวงตาที่แฝงมากับหน้าจอ -- 5 โรคตาอันตรายของ "ชาวก้มหน้า" และ "มนุษย์วานร" -- ตาแห้ง คันตา ปวดตา ตาพร่า ล้วนเป็นอาการกวนใจจากโรควิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์ (Computer vision syndrome) -- Part 2 ด่วน! รีบปลูกฝังสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพดวง ตั้งแต่เนิ่น ๆ ดวงตาคุณเริ่มมีปัญหาเเล้วใช่ไหม -- สิ่งที่ผลตรวจสุขภาพไม่ได้บอก : สายตาเเละความดันลูกตาปกติไม่ได้บ่งชี้ว่าไม่เป็นโรคตา -- ใช้อุปกรณ์ไอทีอย่างเหมาะสมตามช่วงวัยต่าง ๆ -- อันตรายจากหลอดไฟ LED : สาเหตุหลักของอาการนอนไม่หลับอาจเกิดจากแสงสีน้ำเงิน -- ปลูกฝังสุขนิสัย ขจัดภัยต่อดวงตา -- Part 3 การดูแลสุขภาพดวงตาไม่ใช่เรื่องยาก! แค่หมั่นบริหารดวงตานวดกดจุดอย่างถูกวิธี และรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ -- 7 วิธีบริหารดวงตา เเก้อาการเคืองตาและตาล้า -- หมั่นนวดกดจุดรอบดวงตา เพื่อฟื้นฟูสายตาให้เป็นปกติ -- บำรุงสายตาด้วยสารอาหารจากธรรมชาติ เพื่อสุขภาพดวงตาที่แข็งแรง -- การใช้สายตาในสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออำนวยเป็นภัยมืดที่ต้องระวัง -- แว่นตากรองแสงแต่ละชนิดแตกต่างกันหากเลือกใช้ไม่ถูกจะทำให้ตาล้ามากยิ่งขึ้น -- Part 4 หลักปฏิบัติในชีวิตประจำวันเพื่อดวงตาที่รัก -- สวมแว่นตากันแดดที่ไม่กันรังสียูวี ยิ่งเป็นการทำร้ายดวงตา -- เลือกแว่นสายตาผิด กลับยิ่งทำให้สายตาแย่ลง -- คอนแท็คท์เลนส์ชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable) ดีกว่าชนิดถาวร (Conventional) -- เตือนภัย "บิ๊กอายส์" เปลี่ยนสีดา -- ระวัง! ยาหยอดตาและน้ำตาเทียมเป็นภัยต่อกระจกตามากที่สุด -- การรักษาสายตาสั้นด้วยเลเซอร์ (Lasik).
List(s) this item appears in: หนังสือของสว. เดือนมีนาคม 2567
Tags from this library: No tags from this library for this title. ล็อกอินเข้าสู่ระบบเพื่อเพิ่มแท็ก
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
ชนิดของทรัพยากร Current library กลุ่มข้อมูล Shelving location Call number สถานะ Date due บาร์โค้ด Item holds
General Book General Book National Assembly Library of Thailand Senate General Book shelves RE 51 ย5516จ 2559 (Browse shelf(Opens below)) Available 0100008336001
Total holds: 0

Part 1 สายตาเสื่อมก่อนวัยอันควรโดยไม่รู้ตัว อุปกรณ์ไอที เพชฌฆาตตัวฉกาจต่อดวงตา -- เทคโนโลยีเปลี่ยนชีวิตให้ทันสมัย แต่กลับเป็นอันตรายต่อดวงตามากขึ้น -- ติดอินเทอร์เน็ตร้ายแรงยิ่งกว่าติดยา รักษาอย่างไรก็เลิกไม่ขาด -- แสงสีน้ำเงิน (Blue Light) ภัยดวงตาที่แฝงมากับหน้าจอ -- 5 โรคตาอันตรายของ "ชาวก้มหน้า" และ "มนุษย์วานร" -- ตาแห้ง คันตา ปวดตา ตาพร่า ล้วนเป็นอาการกวนใจจากโรควิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์ (Computer vision syndrome) -- Part 2 ด่วน! รีบปลูกฝังสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพดวง ตั้งแต่เนิ่น ๆ ดวงตาคุณเริ่มมีปัญหาเเล้วใช่ไหม -- สิ่งที่ผลตรวจสุขภาพไม่ได้บอก : สายตาเเละความดันลูกตาปกติไม่ได้บ่งชี้ว่าไม่เป็นโรคตา -- ใช้อุปกรณ์ไอทีอย่างเหมาะสมตามช่วงวัยต่าง ๆ -- อันตรายจากหลอดไฟ LED : สาเหตุหลักของอาการนอนไม่หลับอาจเกิดจากแสงสีน้ำเงิน -- ปลูกฝังสุขนิสัย ขจัดภัยต่อดวงตา -- Part 3 การดูแลสุขภาพดวงตาไม่ใช่เรื่องยาก! แค่หมั่นบริหารดวงตานวดกดจุดอย่างถูกวิธี และรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ -- 7 วิธีบริหารดวงตา เเก้อาการเคืองตาและตาล้า -- หมั่นนวดกดจุดรอบดวงตา เพื่อฟื้นฟูสายตาให้เป็นปกติ -- บำรุงสายตาด้วยสารอาหารจากธรรมชาติ เพื่อสุขภาพดวงตาที่แข็งแรง -- การใช้สายตาในสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออำนวยเป็นภัยมืดที่ต้องระวัง -- แว่นตากรองแสงแต่ละชนิดแตกต่างกันหากเลือกใช้ไม่ถูกจะทำให้ตาล้ามากยิ่งขึ้น -- Part 4 หลักปฏิบัติในชีวิตประจำวันเพื่อดวงตาที่รัก -- สวมแว่นตากันแดดที่ไม่กันรังสียูวี ยิ่งเป็นการทำร้ายดวงตา -- เลือกแว่นสายตาผิด กลับยิ่งทำให้สายตาแย่ลง -- คอนแท็คท์เลนส์ชนิดใช้แล้วทิ้ง (Disposable) ดีกว่าชนิดถาวร (Conventional) -- เตือนภัย "บิ๊กอายส์" เปลี่ยนสีดา -- ระวัง! ยาหยอดตาและน้ำตาเทียมเป็นภัยต่อกระจกตามากที่สุด -- การรักษาสายตาสั้นด้วยเลเซอร์ (Lasik).

There are no comments on this title.

to post a comment.
หอสมุดรัฐสภา
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขที่ 1111 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
The Secretariat of the House of Representatives 1111 Samsen Road, Thanon Nakhon Chai Si, Dusit, Bangkok 10300, THAILAND
โทรศัพท์: +66(0) 2242 5900 ต่อ 5711 โทรสาร: +66(0) 2242 5990 อีเมล: library@parliament.go.th